อัตราค่าบริการพลังงาน

อัตราค่าไฟฟ้า

บ้านอยู่อาศัย
ประเภท

ที่

1


ลักษณะการใช้ สำหรับการใช้ไฟฟ้าในบ้านเรือนที่อยู่อาศัย วัดและโบสถ์ของศาสนาต่าง ๆ ตลอดจนบริเวณที่เกี่ยวข้อง โดยต่อผ่านเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้าเครื่องเดียว

1.1 อัตราปกติปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าไม่เกิน 150 หน่วยต่อเดือน

อัตรารายเดือน
ค่าพลังงานไฟฟ้า
15 หน่วย (กิโลวัตต์ชั่วโมง) แรก (หน่วยที่ 1 – 15) หน่วยละ 2.3488 บาท
10 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 16 – 25) หน่วยละ 2.9882 บาท
10 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 26 – 35) หน่วยละ 3.2405 บาท
65 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 36 – 100) หน่วยละ 3.6237 บาท
50 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 101 – 150) หน่วยละ 3.7171 บาท
250 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 151 – 400) หน่วยละ 4.2218 บาท
เกินกว่า 400 หน่วย (หน่วยที่ 401 เป็นต้นไป) หน่วยละ 4.4217 บาท
ค่าบริการ (บาท/เดือน) : 8.19

1.2 อัตราปกติปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าเกินกว่า 150 หน่วยต่อเดือน

อัตรารายเดือน
ค่าพลังงานไฟฟ้า
150 หน่วย (กิโลวัตต์ชั่วโมง) แรก (หน่วยที่ 1 – 150) หน่วยละ 3.2484 บาท
250 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 151 – 400) หน่วยละ 4.2218 บาท
เกินกว่า 400 หน่วย (หน่วยที่ 401 เป็นต้นไป) หน่วยละ 4.4217 บาท
ค่าบริการ (บาท/เดือน) : 24.62

1.3 อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ (Time of Use Tariff : TOU Tariff)

อัตรารายเดือน
ค่าพลังงานไฟฟ้า ค่าพลังงานไฟฟ้า (บาท/หน่วย) ค่าบริการ (บาท/เดือน)
On Peak Off Peak
1.3.1 แรงดัน 12 – 24 กิโลโวลต์  5.1135 2.6037 312.24
1.3.2 แรงดันต่ำกว่า 12 กิโลโวลต์  5.7982 2.6369 24.62
  • On Peak : เวลา 09.00 - 22.00 น. วันจันทร์ - วันศุกร์
  • Off Peak : เวลา 22.00 - 09.00 น. วันจันทร์ - วันศุกร์
  • : เวลา 00.00 - 24.00 น. วันเสาร์ - วันอาทิตย์ วันแรงงานแห่งชาติ วันหยุดราชการตามปกติ (ไม่รวมวันพืชมงคลและวันหยุดชดเชย)

หมายเหตุ

1.
ผู้ใช้ไฟฟ้าที่ติดตั้งเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้า ขนาดไม่เกิน 5 แอมแปร์ 230 โวลต์ 1 เฟส 2 สาย จะถูกจัดให้อยู่ในอัตราข้อ 1.1 แต่ถ้ามีการใช้พลังงานไฟฟ้าเกินกว่า 150 หน่วยต่อเดือน ติดต่อกัน 3 เดือน
   
ในเดือนถัดไปจะจัดเข้าอยู่ในอัตราข้อ 1.2 และถ้ามีการใช้พลังงานไฟฟ้าไม่เกิน 150 หน่วยต่อเดือนติดต่อกัน 3 เดือน ในเดือนถัดไปจะจัดเข้าอยู่ในอัตราข้อ 1.1 ตามเดิม
2.
ผู้ใช้ไฟฟ้าที่ติดตั้งเครื่องวัดฯ ขนาดเกินกว่า 5 แอมแปร์ 230 โวลต์ 1 เฟส 2 สายจะถูกจัดให้อยู่ในอัตราข้อ 1.2 ตลอดไป
3.
ผู้ใช้ไฟฟ้าสามารถเลือกใช้อัตราข้อ 1.3 ได้ โดยจะต้องแจ้งความประสงค์กับการไฟฟ้านครหลวง และชำระค่าเครื่องวัดฯ TOU ก่อน หรือชำระค่าบริการด้านเครื่องวัดฯ TOU เพิ่มขึ้นจากค่าบริการปกติ
   
และหากเลือกใช้ไปแล้วไม่น้อยกว่า 12 เดือน สามารถขอเปลี่ยนกลับไปใช้อัตราเดิมได้
4.
สถานที่ที่ใช้ประกอบศาสนกิจ ตลอดจนบริเวณที่เกี่ยวข้องสามารถเลือกใช้อัตราค่าไฟฟ้าประเภทที่ 6 ได้
5.
ผู้ใช้ไฟฟ้าจะต้องชำระค่าบริการรายเดือน ถึงแม้ไม่มีการใช้ไฟฟ้า
6.
ผู้ใช้ไฟฟ้าประเภท 1.1 (ประเภทที่ 1 อัตราข้อ 1.1) ซึ่งติดตั้งเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้า ขนาดไม่เกิน 5(15)แอมแปร์ และใช้ไฟฟ้าไม่เกิน 50 หน่วยต่อเดือน ได้รับค่าไฟฟ้าฟรีทั้งหมดในเดือนนั้น

กิจการขนาดเล็ก
ประเภท

ที่

2


ลักษณะการใช้ สำหรับการใช้ไฟฟ้าเพื่อประกอบธุรกิจ ธุรกิจรวมกับที่อยู่อาศัย อุตสาหกรรม หน่วยราชการ สำนักงาน หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ หรืออื่น ๆ ตลอดจนบริเวณที่เกี่ยวข้อง ซึ่งมีความต้องการพลังไฟฟ้าเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด ต่ำกว่า 30 กิโลวัตต์ โดยต่อผ่านเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้าเครื่องเดียว

2.1 อัตราปกติ

อัตรารายเดือน
ค่าพลังงานไฟฟ้า (บาท/หน่วย) ค่าบริการ (บาท/เดือน)
2.1.1 แรงดัน 12 - 24 กิโลโวลต์ 3.9086 312.24
2.1.2 แรงดันต่ำกว่า 12 กิโลโวลต์ 33.29
150 หน่วย (กิโลวัตต์ชั่วโมง) แรก (หน่วยที่ 1 – 150) 3.2484
250 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 151 – 400) 4.2218
เกินกว่า 400 หน่วย (หน่วยที่ 401 เป็นต้นไป) 4.4217

2.2 อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ (Time of Use Tariff : TOU Tariff)

อัตรารายเดือน
ค่าพลังงานไฟฟ้า ค่าพลังงานไฟฟ้า (บาท/หน่วย) ค่าบริการ (บาท/เดือน)
On Peak Off Peak
2.2.1 แรงดัน 12 – 24 กิโลโวลต์ 5.1135 2.6037 312.24
2.2.2 แรงดันต่ำกว่า 12 กิโลโวลต์ 5.7982 2.6369 33.29
  • On Peak : เวลา 09.00 - 22.00 น. วันจันทร์ - วันศุกร์
  • Off Peak : เวลา 22.00 - 09.00 น. วันจันทร์ - วันศุกร์
  • : เวลา 00.00 - 24.00 น. วันเสาร์ - วันอาทิตย์ วันแรงงานแห่งชาติ วันหยุดราชการตามปกติ (ไม่รวมวันพืชมงคลและวันหยุดชดเชย)

หมายเหตุ

1.
ผู้ใช้ไฟฟ้าประเภทที่ 2 นี้ หากในรอบเดือนใดมีความต้องการพลังไฟฟ้าเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดตั้งแต่ 30 กิโลวัตต์ขึ้นไป จะจัดเข้าอยู่ในประเภทที่ 3 อัตราข้อ 3.2 ประเภทที่ 4 อัตราข้อ 4.2 หรือ
   
ประเภทที่ 5 อัตราข้อ 5.2 แล้วแต่กรณี และจะจัดเข้ามาอยู่ในประเภทที่ 2 ต่อเมื่อความต้องการพลังไฟฟ้าดังกล่าวลดลงต่ำกว่า 30 กิโลวัตต์ ติดต่อกันเป็นเวลา 12 เดือน
2.
ผู้ใช้ไฟฟ้าในอัตราข้อ 2.1 สามารถเลือกใช้อัตราข้อ 2.2 ได้ โดยจะต้องแจ้งความประสงค์กับการไฟฟ้านครหลวง และชำระค่าเครื่องวัดฯ TOU ก่อน หรือ ชำระค่าบริการด้านเครื่องวัดฯ TOU เพิ่มขึ้นจาก
   
ค่าบริการปกติ และหากเลือกใช้ไปแล้วไม่น้อยกว่า 12 เดือน สามารถขอเปลี่ยนกลับไปใช้อัตราข้อ 2.1 ตามเดิมได้

3. ผู้ใช้ไฟฟ้าจะต้องชำระค่าบริการรายเดือนถึงแม้ไม่มีการใช้ไฟฟ้า


กิจการขนาดกลาง
ประเภท

ที่

3


ลักษณะการใช้ สำหรับการใช้ไฟฟ้าเพื่อประกอบธุรกิจ อุตสาหกรรม หน่วยราชการ สำนักงาน หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ สถานที่ทำการเกี่ยวกับกิจการของต่างชาติและสถานที่ทางการขององค์การระหว่างประเทศตลอดจนบริเวณที่เกี่ยวข้อง ซึ่งมีความต้องการพลังไฟฟ้าเฉลี่ยใน 15 นาที ที่สูงสุด ตั้งแต่ 30 ถึง 999 กิโลวัตต์ และมีปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าเฉลี่ย 3 เดือน ไม่เกิน 250,000 หน่วยต่อเดือน โดยต่อผ่านเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้าเครื่องเดียว

3.1 อัตราปกติ

อัตรารายเดือน
ค่าความต้องการพลังไฟฟ้า
(บาท/กิโลวัตต์)
ค่าพลังงานไฟฟ้า (บาท/หน่วย) ค่าบริการ (บาท/เดือน)
3.1.1 แรงดัน 69 กิโลโวลต์ขึ้นไป 175.70 3.1097 312.24
3.1.2 แรงดัน 12-24 กิโลโวลต์ 196.26 3.1471 312.24
3.1.3 แรงดันต่ำกว่า 12 กิโลโวลต์ 221.50 3.1751 312.24

ความต้องการพลังไฟฟ้า : ความต้องการพลังไฟฟ้าแต่ละเดือน คือ ความต้องการพลังไฟฟ้าเป็นกิโลวัตต์ เฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดในรอบเดือน เศษของกิโลวัตต์ ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวัตต์ ให้ตัดทิ้ง ตั้งแต่ 0.5 กิโลวัตต์ขึ้นไป คิดเป็น 1 กิโลวัตต์

ค่าไฟฟ้าต่ำสุด : ค่าไฟฟ้าต่าสุดในแต่ละเดือนต้องไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70 ของค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (Demand Charge) ที่สูงสุดในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมา

ค่าพาวเวอร์แฟคเตอร์ : สำหรับผู้ใช้ไฟฟ้าที่มีพาวเวอร์แฟคเตอร์ (Lagging) ถ้าในรอบเดือนใดผู้ใช้ไฟฟ้ามีความต้องการพลังไฟฟ้า รีแอคตีฟเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด เมื่อคิดเป็นกิโลวาร์ เกินกว่าร้อยละ 61.97 ของความต้องการพลังไฟฟ้าแอคตีฟ เฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดเมื่อคิดเป็นกิโลวัตต์แล้ว เฉพาะส่วนที่เกินจะต้องเสียค่าพาวเวอร์แฟคเตอร์ในอัตรากิโลวาร์ละ 56.07 บาท สำหรับการเรียกเก็บเงินค่าไฟฟ้าในรอบเดือนนั้น เศษของกิโลวาร์ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวาร์ ให้ตัดทิ้งตั้งแต่ 0.5 กิโลวาร์ขึ้นไปคิดเป็น 1 กิโลวาร์


3.2 อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ (Time of Use Rate : TOU)

อัตรารายเดือน
ค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (บาท/กิโลวัตต์) ค่าพลังงานไฟฟ้า (บาท/หน่วย) ค่าบริการ (บาท/เดือน)
On Peak Off Peak On Peak Off Peak
3.2.1 แรงดัน 69 กิโลโวลต์ขึ้นไป 74.14 0 4.1025 2.5849 312.24
3.2.2 แรงดัน 12-24 กิโลโวลต์ 132.93 0 4.1025 2.5849 312.24
3.2.3 แรงดันต่ำกว่า 12 กิโลโวลต์ 210.00 0 4.3297 2.6369 312.24
  • On Peak : เวลา 09.00 - 22.00 น. วันจันทร์ - วันศุกร์
  • Off Peak : เวลา 22.00 - 09.00 น. วันจันทร์ - วันศุกร์
  • : เวลา 00.00 - 24.00 น. วันเสาร์ - วันอาทิตย์ วันแรงงานแห่งชาติ วันหยุดราชการตามปกติ (ไม่รวมวันพืชมงคลและวันหยุดชดเชย)

ความต้องการพลังไฟฟ้า : ความต้องการพลังไฟฟ้าแต่ละเดือน คือ ความต้องการพลังไฟฟ้าเป็นกิโลวัตต์ เฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดในรอบเดือน เศษของกิโลวัตต์ ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวัตต์ ให้ตัดทิ้ง ตั้งแต่ 0.5 กิโลวัตต์ขึ้นไป คิดเป็น 1 กิโลวัตต์

ค่าไฟฟ้าต่าสุด : ค่าไฟฟ้าต่าสุดในแต่ละเดือนต้องไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 ของค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (Demand Charge) ที่สูงสุดในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมา

ค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ : สำหรับผู้ใช้ไฟฟ้าที่มีเพาเวอร์แฟคเตอร์ (Lagging) ถ้าในรอบเดือนใดผู้ใช้ไฟฟ้ามีความต้องการพลังไฟฟ้า รีแอคตีฟเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด เมื่อคิดเป็นกิโลวาร์ เกินกว่าร้อยละ 61.97 ของความต้องการพลังไฟฟ้าแอคตีฟ เฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดเมื่อคิดเป็นกิโลวัตต์แล้ว เฉพาะส่วนที่เกินจะต้องเสียค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ในอัตรากิโลวาร์ละ 56.07 บาท สาหรับการเรียกเก็บเงินค่าไฟฟ้าในรอบเดือนนั้น เศษของกิโลวาร์ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวาร์ ให้ตัดทิ้งตั้งแต่ 0.5 กิโลวาร์ขึ้นไปคิดเป็น 1 กิโลวาร์

หมายเหตุ

1.
ผู้ใช้ไฟฟ้าที่อยู่ในอัตราข้อ 3.1 ซึ่งใช้ไฟฟ้าก่อนเดือนตุลาคม 2543 จะยังคงถูกจัดอยู่ในอัตราข้อ 3.1 สำหรับผู้ใช้ไฟฟ้าที่จัดเข้าอยู่ในประเภทที่ 3 ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2543 จะถูกจัดเข้าอยู่ในอัตราข้อ 3.2 ในเดือนถัดไป หลังจากเดือนที่ติดตั้งเครื่องวัดฯ TOU แล้ว
2.
ผู้ใช้ไฟฟ้าประเภทที่ 3 หากมีความต้องการพลังไฟฟ้าเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด ตั้งแต่ 1,000 กิโลวัตต์ขึ้นไป ในเดือนใด หรือมีปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าเฉลี่ย 3 เดือน เกินกว่า 250,000 หน่วยต่อเดือน จะถูกจัดเข้าอยู่ในประเภทที่ 4 อัตราข้อ 4.2 ในเดือนถัดไป หลังจากเดือนที่ติดตั้งเครื่องวัดฯ TOU แล้ว
3.
ผู้ใช้ไฟฟ้าในอัตราข้อ 3.1 สามารถเลือกใช้อัตราข้อ 3.2 ได้ โดยต้องแจ้งความประสงค์กับการไฟฟ้านครหลวง และชำระค่าเครื่องวัดฯ TOU ก่อน ทั้งนี้หากเลือกใช้แล้วจะกลับไปใช้อัตราเดิมไม่ได้
4.
ผู้ใช้ไฟฟ้าประเภทที่ 3 หากมีความต้องการพลังไฟฟ้าเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด ตั้งแต่ 1,00ผู้ใช้ไฟฟ้าที่มีความต้องการพลังไฟฟ้าเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด ต่ำกว่า 30 กิโลวัตต์ ติดต่อกันเป็นเวลา 12 เดือน ในเดือนถัดไปจะจัดเข้าอยู่ในประเภทที่ 2 และจะจัดเข้ามาอยู่ในอัตราข้อ 3.2 เมื่อมีความต้องการพลังไฟฟ้าดังกล่าวตั้งแต่ 30 ถึง 999 กิโลวัตต์

5. ผู้ใช้ไฟฟ้าจะต้องชำระค่าบริการรายเดือนเพิ่มจากค่าไฟฟ้าต่ำสุดด้วย


กิจการขนาดใหญ่
ประเภท

ที่

4


ลักษณะการใช้ สำหรับการใช้ไฟฟ้าเพื่อประกอบธุรกิจ อุตสาหกรรม หน่วยราชการ สำนักงาน หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ สถานที่ทำการเกี่ยวกับกิจการของต่างชาติ และสถานที่ทำการขององค์การระหว่างประเทศ ตลอดจนบริเวณที่เกี่ยวข้อง ซึ่งมีความต้องการพลังไฟฟ้าเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด ตั้งแต่ 1,000 กิโลวัตต์ขึ้นไป หรือมีปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าเฉลี่ย 3 เดือน เกินกว่า 250,000 หน่วยต่อเดือน โดยต่อผ่านเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้าเครื่องเดียว 

4.1 อัตราตามช่วงเวลาของวัน (Time of Day Tariff : TOD Tariff)

อัตรารายเดือน
ค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (บาท/กิโลวัตต์) ค่าพลังงานไฟฟ้า (บาท/หน่วย) ค่าบริการ (บาท/เดือน)
On Peak Partial Peak Off Peak
4.1.1 แรงดัน 69 กิโลโวลต์ขึ้นไป 224.30 0 29.91 3.1097 312.24
4.1.2 แรงดัน 12 - 24 กิโลโวลต์ 285.05 0 58.88 3.1471 312.24
4.1.3 แรงดันต่ำกว่า 12 กิโลโวลต์ 332.71 0 68.22 3.1751 312.24
  • On Peak : เวลา 09.00 - 22.00 น. วันจันทร์ - วันศุกร์
  • Off Peak : เวลา 22.00 - 09.00 น. วันจันทร์ - วันศุกร์
  • : เวลา 00.00 - 24.00 น. วันเสาร์ - วันอาทิตย์
  • วันแรงงานแห่งชาติ วันหยุดราชการตามปกติ (ไม่รวมวันพืชมงคลและวันหยุดชดเชย)

ความต้องการพลังไฟฟ้า : ความต้องการพลังไฟฟ้าแต่ละเดือน คือ ความต้องการพลังไฟฟ้าเป็นกิโลวัตต์ เฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดในรอบเดือน เศษของกิโลวัตต์ ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวัตต์ ให้ตัดทิ้งตั้งแต่ 0.5 กิโลวัตต์ขึ้นไป คิดเป็น 1 กิโลวัตต์

ค่าไฟฟ้าต่ำสุด : ค่าไฟฟ้าต่ำสุดในแต่ละเดือนต้องไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70 ของค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (Demand Charge) ที่สูงสุดในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมา ค่าพาวเวอร์แฟคเตอร์

ค่าพาวเวอร์แฟคเตอร์ : สำหรับผู้ใช้ไฟฟ้าที่มีพาวเวอร์แฟคเตอร์ (Lagging) ถ้าในรอบเดือนใดผู้ใช้ไฟฟ้ามีความต้องการพลังไฟฟ้า รีแอคตีฟเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด เมื่อคิดเป็นกิโลวาร์ เกินกว่าร้อยละ 61.97 ของความต้องการพลังไฟฟ้าแอคตีฟ เฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดเมื่อคิดเป็นกิโลวัตต์แล้ว เฉพาะส่วนที่เกินจะต้องเสียค่าพาวเวอร์แฟคเตอร์ในอัตรากิโลวาร์ละ 56.07 บาท สำหรับการเรียกเก็บเงินค่าไฟฟ้าในรอบเดือนนั้น เศษของกิโลวาร์ ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวาร์ ให้ตัดทิ้งตั้งแต่ 0.5 กิโลวาร์ขึ้นไปคิดเป็น 1 กิโลวาร์

4.2 อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ (Time of Use Tariff : TOU Tariff)

อัตรารายเดือน
ค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (บาท/กิโลวัตต์) ค่าพลังงานไฟฟ้า (บาท/หน่วย) ค่าบริการ (บาท/เดือน)
On Peak Off Peak On Peak Off Peak
4.2.1 แรงดัน 69 กิโลโวลต์ขึ้นไป
74.14 0
4.1025 2.5849
312.24
4.2.2 แรงดัน 12-24 กิโลโวลต์ 132.93 0 4.1839 2.6037 312.24
4.2.3 แรงดันต่ำกว่า 12 กิโลโวลต์ 210.00 0 4.3297 2.6369 312.24

ความต้องการพลังไฟฟ้า : ความต้องการพลังไฟฟ้าแต่ละเดือน คือ ความต้องการพลังไฟฟ้าเป็นกิโลวัตต์ เฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดในรอบเดือน เศษของกิโลวัตต์ ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวัตต์ ให้ตัดทิ้งตั้งแต่ 0.5 กิโลวัตต์ขึ้นไป คิดเป็น 1 กิโลวัตต์

ค่าไฟฟ้าต่ำสุด : ค่าไฟฟ้าต่ำสุดในแต่ละเดือนต้องไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70 ของค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (Demand Charge) ที่สูงสุดในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมา ค่าพาวเวอร์แฟคเตอร์

ค่าพาวเวอร์แฟคเตอร์ : สำหรับผู้ใช้ไฟฟ้าที่มีพาวเวอร์แฟคเตอร์ (Lagging) ถ้าในรอบเดือนใดผู้ใช้ไฟฟ้ามีความต้องการพลังไฟฟ้า รีแอคตีฟเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด เมื่อคิดเป็นกิโลวาร์ เกินกว่าร้อยละ 61.97 ของความต้องการพลังไฟฟ้าแอคตีฟ เฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดเมื่อคิดเป็นกิโลวัตต์แล้ว เฉพาะส่วนที่เกินจะต้องเสียค่าพาวเวอร์แฟคเตอร์ในอัตรากิโลวาร์ละ 56.07 บาท สำหรับการเรียกเก็บเงินค่าไฟฟ้าในรอบเดือนนั้น เศษของกิโลวาร์ ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวาร์ ให้ตัดทิ้งตั้งแต่ 0.5 กิโลวาร์ขึ้นไปคิดเป็น 1 กิโลวาร์

หมายเหตุ

1.
ผู้ใช้ไฟฟ้าที่อยู่ในอัตราข้อ 4.1 ซึ่งใช้ไฟฟ้าก่อนเดือนตุลาคม 2543 จะยังคงถูกจัดอยู่ในอัตราข้อ 4.1 สำหรับผู้ใช้ไฟฟ้าที่จัดเข้าอยู่ในประเภทที่ 4 ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2543 จะถูกจัดเข้าอยู่ในอัตราข้อ 4.2 ในเดือนถัดไป หลังจากเดือนที่ติดตั้งเครื่องวัดฯ TOU แล้ว
2.
ผู้ใช้ไฟฟ้าในอัตราข้อ 4.1 สามารถเลือกใช้อัตราข้อ 4.2 ได้ โดยต้องแจ้งความประสงค์กับการไฟฟ้านครหลวง และชำระค่าเครื่องวัดฯ TOU ก่อน ทั้งนี้หากเลือกใช้แล้วจะกลับไปใช้อัตราเดิมไม่ได้
3.
ผู้ใช้ไฟฟ้าที่มีความต้องการพลังไฟฟ้าเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด ต่ำกว่า 30 กิโลวัตต์ ติดต่อกันเป็นเวลา 12 เดือน ในเดือนถัดไปจะจัดเข้าอยู่ในประเภทที่ 2

4. ผู้ใช้ไฟฟ้าจะต้องชำระค่าบริการรายเดือน เพิ่มจากค่าไฟฟ้าต่ำสุดด้วย


กิจการเฉพาะอย่าง
ประเภท

ที่

5


ลักษณะการใช้ สำหรับการใช้ไฟฟ้าเพื่อประกอบกิจการโรงแรมและกิจการให้เช่าพักอาศัย ตลอดจนบริเวณที่เกี่ยวข้อง ซึ่งมีความต้องการพลังไฟฟ้าเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดตั้งแต่ 30 กิโลวัตต์ขึ้นไป โดยต่อผ่านเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้าเครื่องเดียว

5.1 อัตราปกติ

อัตรารายเดือน
ค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (บาท/กิโลวัตต์) ค่าพลังงานไฟฟ้า (บาท/หน่วย) ค่าบริการ (บาท/เดือน)
5.1.1 แรงดัน 69 กิโลโวลต์ขึ้นไป 220.56 3.1097 312.24
5.1.2 แรงดัน 12-24 กิโลโวลต์ 256.07 3.1471 312.24
5.1.3 แรงดันต่ำกว่า 12 กิโลโวลต์ 276.64 3.1751 312.24

ความต้องการพลังไฟฟ้า : ความต้องการพลังไฟฟ้าแต่ละเดือน คือ ความต้องการพลังไฟฟ้าเป็นกิโลวัตต์ เฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดในรอบเดือน เศษของกิโลวัตต์ ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวัตต์ ให้ตัดทิ้งตั้งแต่ 0.5 กิโลวัตต์ขึ้นไป คิดเป็น 1 กิโลวัตต์

ค่าไฟฟ้าต่ำสุด : ค่าไฟฟ้าต่ำสุดในแต่ละเดือนต้องไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70 ของค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (Demand Charge) ที่สูงสุดในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมา ค่าพาวเวอร์แฟคเตอร์

ค่าพาวเวอร์แฟคเตอร์ : สำหรับผู้ใช้ไฟฟ้าที่มีพาวเวอร์แฟคเตอร์ (Lagging) ถ้าในรอบเดือนใดผู้ใช้ไฟฟ้ามีความต้องการพลังไฟฟ้า รีแอคตีฟเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด เมื่อคิดเป็นกิโลวาร์ เกินกว่าร้อยละ 61.97 ของความต้องการพลังไฟฟ้าแอคตีฟ เฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดเมื่อคิดเป็นกิโลวัตต์แล้ว เฉพาะส่วนที่เกินจะต้องเสียค่าพาวเวอร์แฟคเตอร์ในอัตรากิโลวาร์ละ 56.07 บาท สำหรับการเรียกเก็บเงินค่าไฟฟ้าในรอบเดือนนั้น เศษของกิโลวาร์ ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวาร์ ให้ตัดทิ้งตั้งแต่ 0.5 กิโลวาร์ขึ้นไปคิดเป็น 1 กิโลวาร์

5.2 อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ (Time of Use Rate : TOU)

อัตรารายเดือน
ค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (บาท/กิโลวัตต์) ค่าพลังงานไฟฟ้า (บาท/หน่วย) ค่าบริการ (บาท/เดือน)
On Peak Off Peak On Peak Off Peak
5.2.1 แรงดัน 69 กิโลโวลต์ขึ้นไป 74.14 0 4.1025 2.5849 312.24
5.2.2 แรงดัน 12-24 กิโลโวลต์ 132.93 0 4.1839 2.6037 312.24
5.2.3 แรงดันต่ำกว่า 12 กิโลโวลต์ 210.00 0 4.3297 2.6369  312.24
  • On Peak : เวลา 09.00 - 22.00 น. วันจันทร์ - วันศุกร์
  • Off Peak : เวลา 22.00 - 09.00 น. วันจันทร์ - วันศุกร์
  • : เวลา 00.00 - 24.00 น. วันเสาร์ - วันอาทิตย์ วันแรงงานแห่งชาติ วันหยุดราชการตามปกติ (ไม่รวมวันพืชมงคลและวันหยุดชดเชย)

ความต้องการพลังไฟฟ้า : ความต้องการพลังไฟฟ้าแต่ละเดือน คือ ความต้องการพลังไฟฟ้าเป็นกิโลวัตต์ เฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดในรอบเดือน เศษของกิโลวัตต์ ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวัตต์ ให้ตัดทิ้ง ตั้งแต่ 0.5 กิโลวัตต์ขึ้นไป คิดเป็น 1 กิโลวัตต์

ค่าไฟฟ้าต่ำสุด : ค่าไฟฟ้าต่ำสุดในแต่ละเดือนต้องไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70 ของค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (Demand Charge) ที่สูงสุดในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมา ค่าพาวเวอร์แฟคเตอร์

ค่าพาวเวอร์แฟคเตอร์ : สำหรับผู้ใช้ไฟฟ้าที่มีพาวเวอร์แฟคเตอร์ (Lagging) ถ้าในรอบเดือนใดผู้ใช้ไฟฟ้ามีความต้องการพลังไฟฟ้า รีแอคตีฟเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด เมื่อคิดเป็นกิโลวาร์ เกินกว่าร้อยละ 61.97 ของความต้องการพลังไฟฟ้าแอคตีฟ เฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดเมื่อคิดเป็นกิโลวัตต์แล้ว เฉพาะส่วนที่เกินจะต้องเสียค่าพาวเวอร์แฟคเตอร์ในอัตรากิโลวาร์ละ 56.07 บาท สำหรับการเรียกเก็บเงินค่าไฟฟ้าในรอบเดือนนั้น เศษของกิโลวาร์ ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวาร์ ให้ตัดทิ้งตั้งแต่ 0.5 กิโลวาร์ขึ้นไปคิดเป็น 1 กิโลวาร์

หมายเหตุ

1.
ผู้ใช้ไฟฟ้าประเภทที่ 5 จะจัดเข้าอยู่ในอัตราข้อ 5.2 เท่านั้น ในช่วงที่ยังไม่ได้ติดตั้งเครื่องวัดฯ TOU อนุโลมให้คิดค่าไฟฟ้าในอัตราข้อ 5.1 ไปพลางก่อน
2.
ผู้ใช้ไฟฟ้าที่มีความต้องการพลังไฟฟ้าเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด ต่ำกว่า 30 กิโลวัตต์ ติดต่อกันเป็นเวลา 12 เดือน ในเดือนถัดไปจะจัดเข้าอยู่ในประเภทที่ 2 และจะจัดเข้ามาอยู่ในอัตราข้อ 5.2 เมื่อมีความต้องการพลังไฟฟ้าดังกล่าว ตั้งแต่ 30 กิโลวัตต์ขึ้นไป
3.
ผู้ใช้ไฟฟ้าจะต้องชำระค่าบริการรายเดือน เพิ่มจากค่าไฟฟ้าต่ำสุดด้วย

ส่วนราชการและองค์กรที่ไม่แสวงหากำไร
ประเภท

ที่

6


ลักษณะการใช้ สำหรับการใช้ไฟฟ้าขององค์กรที่มีวัตถุประสงค์ในการให้บริการโดยไม่คิดค่าตอบแทน รวมถึงสถานที่ที่ใช้ในการประกอบศาสนกิจ ตลอดจนบริเวณที่เกี่ยวข้อง โดยต่อผ่านเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้าเครื่องเดียวแต่ไม่รวมถึงหน่วยราชการ สำนักงาน หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ สถานที่ทำการเกี่ยวกับกิจการของต่างชาติ และสถานที่ทำการขององค์การระหว่างประเทศ

6.1 อัตราปกติ

อัตรารายเดือน
ค่าพลังงานไฟฟ้า (บาท/หน่วย) ค่าพลังงานไฟฟ้า (บาท/เดือน)
6.1.1 แรงดัน 69 กิโลโวลต์ขึ้นไป   3.4149 312.24
6.1.2 แรงดัน 12 – 24 กิโลโวลต์   3.5849  312.24
6.1.3 แรงดันต่ำกว่า 12 กิโลโวลต์    20.00

10 หน่วย (กิโลวัตต์ชั่วโมง) แรก (หน่วยที่ 1-10)

2.8013

เกินกว่า 10 หน่วย (หน่วยที่ 11 เป็นต้น ไป

3.8919

6.2 อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ (Time of Use Tariff : TOU Tariff)

อัตรารายเดือน
ค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (บาท/กิโลวัตต์) ค่าพลังงานไฟฟ้า (บาท/หน่วย) ค่าบริการ (บาท/เดือน)
On Peak Off Peak On Peak Off Peak

6.2.1 แรงดัน 69 กิโลโวลต์ขึ้นไป

74.14 0 4.1025 2.5849 312.24

6.2.2 แรงดัน 12-24 กิโลโวลต์

132.93 0 4.1839 2.6037 312.24

6.2.3 แรงดันต่ำกว่า 12 กิโลโวลต์

210.00 0 4.3297 2.6369 312.24
  • On Peak : เวลา 09.00 - 22.00 น. วันจันทร์ - วันศุกร์
  • Off Peak : เวลา 22.00 - 09.00 น. วันจันทร์ - วันศุกร์
  • : เวลา 00.00 - 24.00 น. วันเสาร์ - วันอาทิตย์ วันแรงงานแห่งชาติ วันหยุดราชการตามปกติ (ไม่รวมวันพืชมงคลและวันหยุดชดเชย)

ความต้องการพลังไฟฟ้า : ความต้องการพลังไฟฟ้าแต่ละเดือน คือ ความต้องการพลังไฟฟ้าเป็นกิโลวัตต์ เฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดในรอบเดือน คิดเป็น 1 กิโลวัตต์

ค่าไฟฟ้าต่ำสุด : ค่าไฟฟ้าต่ำสุดในแต่ละเดือนต้องไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70 ของค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (Demand Charge) ที่สูงสุดในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมา ค่าพาวเวอร์แฟคเตอร์

หมายเหตุ

1.
ผู้ใช้ไฟฟ้าในอัตราข้อ 6.1 สามารถเลือกใช้อัตราข้อ 6.2 ได้ โดยต้องแจ้งความประสงค์กับการไฟฟ้านครหลวง และชำระค่าเครื่องวัดฯ TOU ก่อน และหากเลือกใช้ไปแล้วไม่น้อยกว่า 12 เดือน สามารถขอเปลี่ยนกลับไปใช้อัตราข้อ 6.1 ตามเดิมได้
2.
ผู้ใช้ไฟฟ้าในอัตราข้อ 6.1 ต้องชำระค่าบริการรายเดือน ถึงแม้ไม่มีการใช้ไฟฟ้า ผู้ใช้ไฟฟ้าในอัตราข้อ 6.2 ต้องชำระค่าบริการรายเดือน เพิ่มจากค่าไฟฟ้าต่ำสุดด้วย
3.
สำหรับการใช้ไฟฟ้าของหน่วยราชการสำนักงาน หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ตลอดจนบริเวณที่เกี่ยวข้องอนุโลมให้จัดอยู่ประเภทที่ 6 จนถึงค่าไฟฟ้าประจำเดือนกันยายน 2555 หากผู้ใช้ไฟฟ้าที่มีความต้องการพลังไฟฟ้าเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด ตั้งแต่ 1,000 กิโลวัตต์ขึ้นไป หรือมีปริมาณพลังงานไฟฟ้าเฉลี่ยย้อนหลัง 3 เดือน เกินกว่า250,000 หน่วยต่อเดือน จะจัดเข้าอยู่ในประเภทที่ 4 อัตราข้อ 4.2 ในเดือนถัดไป หลังจากเดือนที่ ติดตั้งเครื่องวัดฯ TOU แล้ว และตั้งแต่ค่าไฟฟ้าประจาเดือนตุลาคม 2555 เป็นต้นไป จะจัดเข้าในประเภทที่ 2หรือประเภทที่ 3อัตราข้อ 3.2 หรือประเภทที่ 4 อัตราข้อ 4.2 แล้วแต่กรณี ตามลักษณะการใช้ไฟฟ้า

สูบน้ำเพื่อการเกษตร
ประเภท

ที่

7


ลักษณะการใช้ สำหรับการใช้ไฟฟ้ากับเครื่องสูบน้ำเพื่อการเกษตรของหน่วยราชการ สำนักงาน หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กลุ่มเกษตรกรที่ทางราชการรับรอง หรือสหกรณ์เพื่อการเกษตรโดยต่อผ่านเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้าเครื่องเดียว

7.1 อัตราปกติ

อัตรารายเดือน
ค่าพลังงานไฟฟ้า (บาท/หน่วย)
100 หน่วย (กิโลวัตต์ชั่วโมง) แรก (หน่วยที่ 1-100)  2.0889
เกินกว่า 100 หน่วย (หน่วยที่ 101 เป็นต้นไป)  3.2405
ค่าบริการ (บาท/เดือน) : 115.16

7.2 อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ (Time of Use Rate : TOU)

อัตรารายเดือน
ค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (บาท/กิโลวัตต์) ค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (บาท/กิโลวัตต์) ค่าบริการ (บาท/เดือน)
On Peak Off Peak On Peak Off Peak
7.2.1 แรงดัน 12-24 กิโลโวลต์  132.93 0 4.1839 2.6037 204.07
7.2.2 แรงดันต่ำกว่า 12 กิโลโวลต์  210.00 0 4.3297 2.6369 204.07
  • On Peak : เวลา 09.00 - 22.00 น. วันจันทร์ - วันศุกร์
  • Off Peak : เวลา 22.00 - 09.00 น. วันจันทร์ - วันศุกร์
  • : เวลา 00.00 - 24.00 น. วันเสาร์ - วันอาทิตย์ วันแรงงานแห่งชาติ วันหยุดราชการตามปกติ (ไม่รวมวันพืชมงคลและวันหยุดชดเชย)

ความต้องการพลังไฟฟ้า : ความต้องการพลังไฟฟ้าแต่ละเดือน คือ ความต้องการพลังไฟฟ้าเป็นกิโลวัตต์ เฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดในรอบเดือน เศษของกิโลวัตต์ ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวัตต์ ให้ตัดทิ้ง ตั้งแต่ 0.5 กิโลวัตต์ขึ้นไป คิดเป็น 1 กิโลวัตต์

ค่าไฟฟ้าต่ำสุด : ค่าไฟฟ้าต่ำสุดในแต่ละเดือนต้องไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70 ของค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (Demand Charge) ที่สูงสุดในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมา ค่าพาวเวอร์แฟคเตอร์

หมายเหตุ

1.
ผู้ใช้ไฟฟ้าต้องมีเครื่องสูบน้ำที่มีแรงม้ารวมกันไม่ต่ำกว่า 25 แรงม้า และต้องทำสัญญากับการไฟฟ้านครหลวงก่อน
2.
ผู้ใช้ไฟฟ้าในอัตราข้อ 7.1 สามารถเลือกใช้อัตราข้อ 7.2 ได้ โดยต้องแจ้งความประสงค์กับการไฟฟ้านครหลวง และชำระค่าเครื่องวัดฯ TOU ก่อน และหากเลือกใช้ไปแล้วไม่น้อยกว่า 12 เดือน สามารถขอเปลี่ยนกลับไปใช้อัตรา ข้อ 7.1 ตามเดิมได้
3.
ผู้ใช้ไฟฟ้าในอัตราข้อ 7.1 ต้องชำระค่าบริการรายเดือน ถึงแม้ไม่มีการใช้ไฟฟ้า
4.
ผู้ใช้ไฟฟ้าในอัตราข้อ 7.2 ต้องชำระค่าบริการรายเดือน เพิ่มจากค่าไฟฟ้าต่ำสุดด้วย

ไฟฟ้าชั่วคราว
ประเภท

ที่

8


ลักษณะการใช้ สำหรับการใช้ไฟฟ้าชั่วคราว เพื่อใช้ในการก่อสร้างอาคารทั่วไป หรือสิ่งปลูกสร้างการจัดงานขึ้นเป็นกรณีพิเศษชั่วคราว หรือการใช้ในกรณีต่างๆ เป็นการชั่วคราว โดยต่อผ่านเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้าเครื่องเดียว

 
ค่าพลังงานไฟฟ้า (ทุกระดับแรงดัน) หน่วยละ 6.8025 บาท

หมายเหตุ

ผู้ใช้ไฟฟ้าที่ใช้อัตราประเภทนี้ หากประสงค์จะขอเปลี่ยนแปลงลักษณะการใช้ไฟฟ้าเป็นการถาวร หรือการไฟฟ้านครหลวงตรวจพบว่าได้เปลี่ยนแปลงลักษณะการใช้ไฟฟ้าเป็นการถาวรแล้ว เช่น ประกอบธุรกิจอุตสาหกรรม บ้านอยู่อาศัย ฯลฯ จะต้องยื่นคำร้องขอใช้ไฟฟ้าถาวรที่การไฟฟ้านครหลวงเขต พร้อมกับเดินสายและติดตั้งอุปกรณ์ภายในให้ถูกต้องตามมาตรฐานที่การไฟฟ้านครหลวงกำหนด และชำระเงินค่าธรรมเนียมการใช้ไฟฟ้า แบบถาวรให้ครบถ้วนตามหลักเกณฑ์ของการไฟฟ้านครหลวง โดยจะจัดเข้าในประเภทที่ 1 – 7 แล้วแต่กรณีตามลักษณะการใช้ไฟฟ้า


ข้อกำหนดเกี่ยวกับอัตราค่าไฟฟ้าของ กฟภ.

1. อัตราค่าไฟฟ้าข้างต้น เป็นอัตราที่เรียกเก็บรายเดือน ที่ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม

2.
ค่าไฟฟ้าที่เรียกเก็บในแต่ละเดือน ประกอบด้วย ค่าไฟฟ้าตามอัตราค่าไฟฟ้าฐาน และค่าไฟฟ้าตามสูตรการปรับ อัตราค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ (Ft) โดยมีการเรียกเก็บ Ft ทุกเดือน แยกเป็นรายการในใบเรียกเก็บเงินค่าไฟฟ้า ทั้งนี้ Ft ที่เรียกเก็บจะปรับเปลี่ยนทุก ๆ 4 เดือน โดยกำหนดให้ Ft เป็นอัตราคงที่ต่อหน่วยการใช้พลังงานไฟฟ้า

อัตราค่าไฟฟ้าข้างต้น เริ่มใช้ตั้งแต่ ค่าไฟฟ้าประจำเดือน พฤศจิกายน 2561 เป็นต้นไป
แหล่งที่มา : การไฟฟ้านครหลวง

คัดลอกสำเร็จ