กรุณาใส่อีเมลและรหัสผ่านเพื่อเข้าสู่ระบบ
รหัสผ่านจะต้องมีตัวอักษรอย่างน้อย 8 ตัวอักษร
ป้อนชื่อผู้ใช้ หรือ อีเมลของคุณ ที่ใช้ในการลงทะเบียน เราจะส่งอีเมลแจ้งชื่อผู้ใช้ของคุณพร้อมลิงก์สำหรับรีเซ็ตรหัสผ่าน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของท่าน โดยการเข้าใช้เว็บไซต์นี้ถือว่าท่านได้อนุญาตให้เราใช้คุกกี้ตาม นโยบายคุกกี้
การเข้าถึง
ลิงก์ด่วน
อ่านเสียง
ตัวเลือกสำหรับการค้นหาชั้นสูง
ระยะเวลาจาก
ถึง
เรียงลำดับ
ประเภทข้อมูล
เขต
พ.ค. พบผลลัพธ์ทั้งหมด 47 รายการ
“กกพ.” หั่นค่าไฟเหลือ จาก 4.15 บาท/หน่วย ให้มีผล พ.ค. 68 เป็นต้นไป
ข่าวดีเกินคาด !! “กกพ." หั่นค่าไฟเหลือ 3.98 บาท/หน่วย ให้มีผล พ.ค. 68 เป็นต้นไป
“กกพ.” เปิดรับฟังความคิดเห็นค่าเอฟทีงวด พ.ค. - ส.ค. 68
กกพ. ประกาศตรึงค่าเอฟที 36.72 สตางค์/หน่วย ค่าไฟฟ้าเรียกเก็บเฉลี่ย 4.15 บาท/หน่วย ถึง ส.ค. 68
“กกพ." เสนอ 3 ทางเลือกค่าไฟงวด พ.ค. - ส.ค. 2568 ที่ 4.15 – 5.16 บาทต่อหน่วย ชี้หลายปัจจัยยังคงกดดันค่าไฟ ปริมาณความต้องการไฟฟ้าเพิ่มต่อเนื่อง ปริมาณไฟฟ้าพลังน้ำนำเข้าลดลงตามฤดูกาล แนวโน้มต้นทุนไฟฟ้าจากถ่านหินเพิ่มสูงขึ้น ...
รู้มั้ยหน่วยการใช้ไฟเดือนเม.ย. - พ.ค. 66
3 แนวทางการรับฟังค่าเอฟที พ.ค. - ส.ค. 66
สถิติความต้องการใช้ไฟฟ้าสูงสุดของระบบไฟฟ้า (System Peak) ข้อมูล ณ เดือนพ.ค. 66
ไฮโดรเจนถูกมองว่าเป็นแกนหลักของความพยายามในการลดคาร์บอนในทศวรรษต่อจากนี้ ด้วยคุณสมบัติเฉพาะตัวช่วยให้สามารถใช้งานไฮโดรเจนในภาคส่วนต่างๆ ของเศรษฐกิจ เช่น อุตสาหกรรม การขนส่ง และการผลิตไฟฟ้า ไฮโดรเจนสามารถผลิตได้หลายแนวทาง ทั้งแบบดั้งเดิมและแบบคาร์บอนต่ำ วิถีดั้งเดิมหมายถึงการผลิตไฮโดรเจนจากก๊าซธรรมชาติและถ่านหิน ซึ่งครอบคลุมมากกว่า 80% ของอุปทานไฮโดรเจนในปัจจุบันทั่วโลก
ด้วยวิกฤตการณ์สภาพอากาศแปรปรวน (Climate Change) ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องและยิ่งทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้นในช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมาอันเนื่องมาจากการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั่วโลก ทำให้นานาประเทศหันมาใช้มาตรการต่างๆ ในการลดการปลดปล่อยคาร์บอน เพื่อบรรลุเป้าหมายความเป็นกลางทางคาร์บอน (Carbon Neutrality) และการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (Net-Zero Emission) โดยประเทศไทยได้ให้คำมั่นในการประชุมสมัชชาประเทศภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ครั้งที่ 26 (COP26) ว่า ไทยจะก้าวเข้าสู่ความเป็นกลางทางคาร์บอนภายในปี ค.ศ. 2050 และการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ภายในปี ค.ศ. 2065อันนำมาสู่การจัดทำแผน "นโยบายอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน" เพื่อรับมือกับการเปลี่ยนผ่านด้านพลังงานพร้อมสร้างความยั่งยืนทางด้านสิ่งแวดล้อม โดย 1 ใน 5 แนวทางหลักในการดำเนินการสู่เป้าหมายความเป็นกลางทางคาร์บอน คือ การใช้พลังงานไฮโดรเจนซึ่งเป็นพลังงานสีเขียวนั่นเอง ซึ่งประเทศไทยพบว่า พลังงานไฮโดรเจนเป็นความหวังใหม่ที่จะมานำมาซึ่งเสถียรภาพการผลิตไฟฟ้า โดยจะเริ่มจากไฮโดรเจนสีฟ้า (blue hydrogen) พัฒนาต่อสู่ไฮโดรเจนสีเขียว (green hydrogen) ควบคู่กับระบบการกักเก็บคาร์บอน ที่จะมาช่วยแก้จุดอ่อนเสริมจุดแข็งด้านพลังงานของประเทศไทยอย่างยั่งยืนตามแนวทางโลก
ผู้เขียนมีโอกาสเข้าร่วมอบรมกับห้องปฏิบัติการแห่งชาติแซนเดีย (Sandia National Laboratories) จากประเทศสหรัฐอเมริกาในโปรแกรม FIRST ซึ่งเป็นหลักสูตรที่สร้างพื้นฐานความรู้ความเข้าใจเทคโนโลยีเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ขนาดเล็กแบบโมดูลาร์ (Small Modular Reactors: SMRs) ให้แก่ประเทศที่สนใจ เพื่อส่งเสริมยุทธศาสตร์ ความร่วมมือด้านนวัตกรรมและพันธมิตรระหว่างประเทศ จากการอบรมทำให้ทราบว่า ในการเลือกสถานที่สร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ เราต้องเริ่มจากการศึกษาคู่มือแนวปฎิบัติในการสำรวจและเลือกสถานที่ก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ (Site Survey and Site Selection for Nuclear Installations) ซึ่งเป็นเอกสารที่จัดทำขึ้นโดย International Atomic Energy Agency (IAEA) โดยคำนึงถึงมาตรฐานความปลอดภัยสำหรับมนุษย์และสิ่งแวดล้อมในประเด็นต่างๆ เช่น ความหนาแน่นของประชากร, ข้อมูลแผ่นดินถล่ม, ข้อมูลสถิติน้ำท่วมย้อนหลัง 100 ปี, แหล่งน้ำที่ใช้สำหรับการระบายความร้อน, ข้อมูลการไหลของน้ำ รวมถึงเทคโนโลยีที่นำมาใช้, ต้นทุนที่เกิดขึ้น, สภาพเศรษฐกิจในชุมชนรอบโรงไฟฟ้า และการจ้างงานภายในพื้นที่ เป็นต้น
แผนผังเว็บไซต์
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
สงวนสิทธิ์ © สำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน